ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความจริงของชีวิตตามโลกทัศน์ทางปรัชญาและศาสนาหลักคุณธรรมจริยธรรมในการดำเนินชีวิตองค์ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์ การพัฒนาความตระหนักรู้ในตน ความภูมิใจในตนเอง ความคิดสร้างสรรค์ ความคิดวิเคราะห์วิจารณ์ การตัดสินใจและแก้ปัญหา การจัดการกับอารมณ์และความเครียด การสร้างสัมพันธภาพและการสื่อสาร ความเห็นใจผู้อื่น ความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการดำรงชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างมีความสุข
- อาจารย์: เอกสิทธิ์ ไชยปิน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความจริงของชีวิตตามโลกทัศน์ทางปรัชญาและศาสนา หลักคุณธรรม จริยธรรมในการดำเนินชีวิต ปัจจัยและองค์ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์ การพัฒนาความตระหนักรู้ในตน ความภูมิใจในตนเอง ความคิดสร้างสรรค์ ความคิดวิเคราะห์วิจารณ์ การตัดสินใจและแก้ปัญหา การจัดการกับอารมณ์และความเครียด การสร้างสัมพันธภาพและการสื่อสาร ความเห็นใจผู้อื่น ความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการดำรงชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างมีความสุข
ความหมายของพลเมือง อำนาจหน้าที่ ความเป็นส่วนตัว ความรับผิดชอบ ความยุติธรรม การปฏิบัติตนในการดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย โดยการปฏิบัติตามกฎหมาย ศีลธรรม กติกาของท้องถิ่น ชุมชน การมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน โดยใช้การบริหารความขัดแย้ง นโยบายสาธารณะ จิตสำนึกสาธารณะ ฉันทามติ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ความหมายของพลเมือง อำนาจหน้าที่ ความเป็นส่วนตัว ความรับผิดชอบ ความยุติธรรม การปฏิบัติตนตามกฎหมาย ศีลธรรม กติกาของท้องถิ่น ชุมชน ในการดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน โดยใช้การบริหารความขัดแย้งด้วยสันติวิธี นโยบายสาธารณะ จิตสำนึกสาธารณะ ฉันทามติ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
"Leadership and learning are indispensable to each other." - John F. Kenedy (1962)
ความรู้เกี่ยวกับสารสนเทศ การรู้สารสนเทศ องค์ประกอบ และมาตรฐานของการรู้สารสนเทศ ทักษะการรู้สารสนเทศในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ความสามารถในการกำหนด ความต้องการสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งและทรัพยากรสารสนเทศ การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลต่าง ๆ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การประเมินคุณค่าของสารสนเทศ การวิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ และการนำเสนอสารสนเทศจากผลการศึกษาค้นคว้าในรูปแบบของรายงานทางวิชาการที่เป็นมาตรฐาน
นักศึกษามีความรู้ เรื่องศาสตร์ของความงาม ได้แก่ ความเข้าใจถึงวิธีการ สัมผัสความงาม รับรู้คุณค่าความงามของธรรมชาติ และผลงานศิลปะ ด้วยกระบวนการดู การฟัง การอ่าน การคิด การพูด และการฝึกปฏิบัติ เพื่อให้เกิดเป็นประสบการณ์ทางความงาม สามารถสร้างสรรค์กิจกรรมทางความงามที่มุ่งเน้นความเป็นไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพทางกาย ใจ สังคม และปัญญา และมีความซาบซึ้งทางสุนทรียศาสตร์ สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์ และประเมินคุณค่าทางความงามได้
การบูรณาการการใช้ภาษาอังกฤษเฉพาะสาขาวิชา เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการอ่าน การเขียน โดยมุ่งเน้นคำศัพท์ โครงสร้างไวยากรณ์ และรูปแบบของงานเขียนเฉพาะสาขาวิชา